วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2555

18 สิงหาคม 2555 วันวิทยาศาสตร์ ที่ไบเทคบางนา

อาจารย์ยกตัวอย่าง
การคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับช้าง
ดึงประสบการเดิม
- คำถาม
- วาดภาพ
- กิจกรรมศิลปะ
ออกแบบกิจกรรม
- ไปทัศนศึกษา => เห็นจริง มีผู้รู้ อธิบาย
- ไปห้องสมุด => หาข้อความรู้ต่างๆ ก่อนไปสถานที่จริง
ต้องดูว่าเด็กจะสะท้อนความคิดออกมาโดยใช้เทคนิคอะไรบ้าง

ทำไมถึงต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ระดมความคิดแล้วเราต้องเปิดโอกาส
- เด็กเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง
- กล้าแสดงออก
- ประสบผลสำเร็จในการหาคำตอบ

** งานที่มอบหมาย**
- เขียนแผน ส่งวัน ศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555
- จับกลุ่ม 9 คน ทดลอง 1 อย่าง
- มีอุปกรณ์ สื่อ ให้พร้อม และมีความสามารถในการทำงาน
- มีไอเดียในการใช้เทคโนโลยี อย่างไรบ้าง

ตัวอย่างเช่น

วันที่ 1 - สอน ช้างมีหลายชนิด แต่ละชนิดแตกต่างกัน
- ประสบการณ์สำคัญ รับรู้เรื่องของช้างที่มีชื่อเรียกแตกต่างกัน อธิบาย เรียกชื่อได้
ขั้นเรียกร้องความสนใจ
ขั้นนำ - ใช้ภาพตัดต่อ
- นิทาน
วัตถุประสงค์
- รู้อะไร ทำอะไรได้
ประสบการณ์สำคัญ
- สิ่งที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- เด็กได้ทำอะไร เช่น ได้จัดประเภทช้าง
กิจกรรม
- จักกลุ่ม
- บอกชื่อ
- ร้องเพลง
สื่อ
- ภาพตัดต่อ
- รูปภาพ
ประเมินผล
- สังเกตการมีส่วนร่วม
- ตอบคำถาม
หมายเหตุ

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 17 กรฎาคม พ.ศ. 2555

-นำเสนองานที่ต้องแก้ไขในสัปดาที่แล้ว
-ทำไมเราจึงต้องมีการทำสื่อให้เด็กเล่นเอง
1.การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการเล่น
2.การเล่นทำให้เด็กเกิดประสบการณ์
3.การเล่นทำให้เกิดทักษะต่างๆ
4.การเล่นมีการได้ลองผิดลองถูก

-การเล่นเป็นเครื่องมือทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-การสร้างของเล่นทำให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์
การสอนเด็กทำ
1.เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง
2.เด็กได้รู้จักการเรียงลำดับขั้นตอน
3.เด็กได้รู้จักการใช้คำถาม เช่น ทำไม เพราะอะไร เป็นต้น

*การสะท้อน > ถ้าอยากให้เด็กได้เชิงวิทยาศาสตร์โดยการทำของเล่นเชิงเนื้อหาโดยผ่านของเล่น

วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานคู่เกี่ยวกับสื่อวิทยาศาสตร์

1.งานแรกคือของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถเล่นได้เอง




 2.งานของเล่นวิทยาศาสตร์ที่สามารถสอนเด็กทำได้


วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ดูคลิปเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ

- ร่างกายของมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 70%
- ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90%
- เมื่อร่างกายของคนเราขาดน้ำร่างกายก็จะมีอาการอ่อนเพลีย
- มนุษย์เรานั้นขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
ฝน
-ของแข็ง > ของเหลว > ก๊าซ > เมื่อกระทบกับความเย็น
ก็จะควบแน่นเกิดเป็นของเหลวอีกครั้งคือฝน
ประโยชน์จากการดูคลิป
(1) สาระในการรู้ (เนื้อหา)
(2) เทคนิคในการนำเสนอ (ภาพ ตัวอย่าง)
(3) การจัดลำดับเรื่องราว (จากใหญ่ไปเล็ก)
(4) แนวคิดข้อคิด (น้ำเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิต)

- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก > ลงมือกระทำ ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
- ถ้าจะทำอะไรที่เป็นเรื่องยากควรที่จะใช้สื่อ

งาน

(1) ทำสื่่อที่เด็กสามารถเล่นได้ด้วยตนเป็นสื่อทางวิทยาศาสตร์


- วัสดุ
- วิธีการ
- ถ่ายรูป
- ใช้เศษวัสดุ


(2) หาวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์เพื่อสอนให้เด็กทำ