วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 16

วันอังคารที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2555  

 

  - วันนี้อาจารย์ให้เขียนข้อดีและข้อจำกัดขอแท็ปแล็ต

     ว่านักศึกษาคิดอย่างไรกับการใช้กับชั้นประถมศึกษา

     ชั้นปีที่ 1 และชั้นอนุบาล

วันอาทิตย์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเข้าเรียนครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 18 กันยายน  พ.ศ. 2555

จัดกิจกรรมให้เด็กอนุบาล โรงเรียนสาธิตจันทรเกษมเวลา 14.00 น.

มีด้วยกันทั้งหมด  9  ฐาน

-มี3เรื่องใหญ่ด้วยกันคือ เสียง การเปลี่ยนแปลง แม่เหล็ก

-มี 9 ฐาน ดังนี้

1.เสียง
-ลูกโป่ง

-การเดินทางของเสียง

-ระดับน้ำมีผลต่อระดับเสียง

2.การเปลี่ยนแปลง

-ขนมปังปิ่ง
-ขนมต้ม
-เกี๊ยวทอด
3.แม่เหล็ก

-แม่เหล็กมหาสนุก
-ลูกข่างเปลี่ยนสี
-แม่เหล็กมหัศจรรย์

ฐานขนมปังปิ่ง






 

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคารที่  11  กันยายน พ.ศ. 2555

ความรู้ที่ได้รับ


 -  มีการส่งกิจกรรมที่จะทำไปจัดที่โรงเรียนอนุบาลสาธิตราชภัฎจันทรเกษมต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว



 -  อาจารย์ชี้แจงการไปทำกิจกรรมว่าจะต้องจัดเตรียมอะไรบ้าง
 
 -  การจัดสถานที่                   
 
 -  การซื้ออุปกรณ์                   
 
 -  การจัดทำป้ายชื่อของเด็กอนุบาล                    
 
-  ในการเข้าฐานใช้เวลา 10 - 15 นาที


 -  อาจารย์พูดถึงสิ่งที่ต้องมีใน Blogger  ว่าจะต้องมีอะไรบ้าง                    
 
-  ดูโทรทัศน์ครู                    
 
-  สมาชิกต้องครบ                   
 
 -  มีลิงค์แห่งข้อมูลใหม่ๆ                   
 
 -  ข้อมูลการเข้าเรียน                   
 
 -  ถ่ายรูปกิจกรรม                   
 
 -  ลงขั้นตอนการทำกิจกรรมต่างๆ

วันเสาร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

 วันอังคารที่ 4 กันยายน 2555

- อาจารย์ตรวจบอร์ดที่นักศึกษาส่งมาเป็นกลุ่ม


- อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทำป้าย การจัดวางดอกไม้ในตำแหน่งต่างๆ
- ส่งงานการทดลองวิทยาศาสตร์
-อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่จะไปจัดให้เด็ก

งานที่ได้รับมอบหมาย
 -จับกลุ่มไปจัดกิจกรรมให้เด็กๆที่สาธิต

วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

 วันอังคารที่ 28 สิงหาคม 2555

วันนี้อาจารย์นำความรู้จากการเข้ารับการอบรมการประดิษฐิ์ดอกไม้นำมาจัดบรอด เป็นกลุ่ม  3  คน



วันอังคารที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2555

วันพฤหัสบดีที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11

วันอังคารที่ 21 สิงหาคม 2555


- อาจารย์ให้จับกลุ่ม 8 คนและแจกหนังสือเกี่ยวกับ 4 สาระ



**งานที่มอบหมาย**
- จับกลุ่ม 4 คน
- คิดกิจกรรมจาก 4 สาระ
- เขียนใส่กระดาษ
- มีแนวคิด ขั้นตอน ขั้นสรุป

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 14 สิงหาคม 2555

ไม่มีการเรียนการสอน...............................................................................

เรียนชดเชยวันอาทิตย์ที่ 26 สิงหาคม 2555

วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9

 วันอังคารที่ 7 สิงหาคม 2555

ไม่มีการเรียนการสอน........................................................

สอนชดเชยในวันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม 2555

วันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2555

วันสอบกลางภาคของมหาวิทยาลัย.....................................................

วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2555

18 สิงหาคม 2555 วันวิทยาศาสตร์ ที่ไบเทคบางนา

อาจารย์ยกตัวอย่าง
การคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับช้าง
ดึงประสบการเดิม
- คำถาม
- วาดภาพ
- กิจกรรมศิลปะ
ออกแบบกิจกรรม
- ไปทัศนศึกษา => เห็นจริง มีผู้รู้ อธิบาย
- ไปห้องสมุด => หาข้อความรู้ต่างๆ ก่อนไปสถานที่จริง
ต้องดูว่าเด็กจะสะท้อนความคิดออกมาโดยใช้เทคนิคอะไรบ้าง

ทำไมถึงต้องเปิดโอกาสให้เด็กได้ระดมความคิดแล้วเราต้องเปิดโอกาส
- เด็กเกิดความเชื่อมั่นในตัวเอง
- กล้าแสดงออก
- ประสบผลสำเร็จในการหาคำตอบ

** งานที่มอบหมาย**
- เขียนแผน ส่งวัน ศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2555
- จับกลุ่ม 9 คน ทดลอง 1 อย่าง
- มีอุปกรณ์ สื่อ ให้พร้อม และมีความสามารถในการทำงาน
- มีไอเดียในการใช้เทคโนโลยี อย่างไรบ้าง

ตัวอย่างเช่น

วันที่ 1 - สอน ช้างมีหลายชนิด แต่ละชนิดแตกต่างกัน
- ประสบการณ์สำคัญ รับรู้เรื่องของช้างที่มีชื่อเรียกแตกต่างกัน อธิบาย เรียกชื่อได้
ขั้นเรียกร้องความสนใจ
ขั้นนำ - ใช้ภาพตัดต่อ
- นิทาน
วัตถุประสงค์
- รู้อะไร ทำอะไรได้
ประสบการณ์สำคัญ
- สิ่งที่เด็กได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- เด็กได้ทำอะไร เช่น ได้จัดประเภทช้าง
กิจกรรม
- จักกลุ่ม
- บอกชื่อ
- ร้องเพลง
สื่อ
- ภาพตัดต่อ
- รูปภาพ
ประเมินผล
- สังเกตการมีส่วนร่วม
- ตอบคำถาม
หมายเหตุ

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 17 กรฎาคม พ.ศ. 2555

-นำเสนองานที่ต้องแก้ไขในสัปดาที่แล้ว
-ทำไมเราจึงต้องมีการทำสื่อให้เด็กเล่นเอง
1.การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการเล่น
2.การเล่นทำให้เด็กเกิดประสบการณ์
3.การเล่นทำให้เกิดทักษะต่างๆ
4.การเล่นมีการได้ลองผิดลองถูก

-การเล่นเป็นเครื่องมือทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้
-การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
-การสร้างของเล่นทำให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้เชิงวิทยาศาสตร์
การสอนเด็กทำ
1.เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง
2.เด็กได้รู้จักการเรียงลำดับขั้นตอน
3.เด็กได้รู้จักการใช้คำถาม เช่น ทำไม เพราะอะไร เป็นต้น

*การสะท้อน > ถ้าอยากให้เด็กได้เชิงวิทยาศาสตร์โดยการทำของเล่นเชิงเนื้อหาโดยผ่านของเล่น

วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555


วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานคู่เกี่ยวกับสื่อวิทยาศาสตร์

1.งานแรกคือของเล่นที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เด็กสามารถเล่นได้เอง




 2.งานของเล่นวิทยาศาสตร์ที่สามารถสอนเด็กทำได้


วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4

วันอังคารที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ดูคลิปเรื่องมหัศจรรย์ของน้ำ

- ร่างกายของมนุษย์มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 70%
- ผักและผลไม้มีน้ำเป็นส่วนประกอบ 90%
- เมื่อร่างกายของคนเราขาดน้ำร่างกายก็จะมีอาการอ่อนเพลีย
- มนุษย์เรานั้นขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
ฝน
-ของแข็ง > ของเหลว > ก๊าซ > เมื่อกระทบกับความเย็น
ก็จะควบแน่นเกิดเป็นของเหลวอีกครั้งคือฝน
ประโยชน์จากการดูคลิป
(1) สาระในการรู้ (เนื้อหา)
(2) เทคนิคในการนำเสนอ (ภาพ ตัวอย่าง)
(3) การจัดลำดับเรื่องราว (จากใหญ่ไปเล็ก)
(4) แนวคิดข้อคิด (น้ำเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อชีวิต)

- วิธีการเรียนรู้ของเด็ก > ลงมือกระทำ ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5
- ถ้าจะทำอะไรที่เป็นเรื่องยากควรที่จะใช้สื่อ

งาน

(1) ทำสื่่อที่เด็กสามารถเล่นได้ด้วยตนเป็นสื่อทางวิทยาศาสตร์


- วัสดุ
- วิธีการ
- ถ่ายรูป
- ใช้เศษวัสดุ


(2) หาวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์เพื่อสอนให้เด็กทำ

วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3

วันอังคารที่ 26 มิถุุนายน  พ.ศ. 2555

- เครื่องมือในการเรียนรู้ > ภาษา คณิตศาสตร์

การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์

- ขั้นที่ 1 แรกเกิด-2 ขวบ
- ขั้นที่ 2 2-4 ปี
- ขั้นที่ 3 4-6 ปี
- ในการจัดประสบการณ์ต้องเป็นรูปธรรม

กระบวนการทางวิทยาศาศตร์

(1) กระบวนการเบื้องต้น
- การสังเกต (สอดคล้องกับวิธ๊การเรียนรู้ของเด็ก)
- การวัด (ปริมาณ)
- การจำแนกประเภท (หาเกณฑ์)
- การหาความสัมพันธ์ (ความเหมือน ความตรงข้าม ส่วนที่เกี่ยวข้องกัน)
- การสื่อความหมาย (สัญลักษณ์)
- การคำนวณ
- การพยากรณ์
(2) กระบวนการแบบผสม
- ตั้งสมมติฐาน
- กำหนดเชิงปฎิบัติการ
- การกำหนดและควบคุมตัวแปร
- การทดลอง
- ตีความและสรุป

วิธีการจัด
(1) เป็นทางการ
- รูปแบบผสมผสาน (โครงการวิทยาศาสตร์)
- มีจุดมุ่งหมาย
(2) ไม่เป็นทางการ
- มุมวิทยาศาสตร์
- สภาพ
(3) จัดแบบตามเหตุการณ์
- สิ่งที่พบเห็น
- ธรรมชาติ

การใช้สื่อ
- เลือก(เนื้อหา สถานที่ พัฒนาการ การเรียนรู้)
- เตรียม
- ใช้
- ประเมิน

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

พัฒนาการทางสติปัญญาของเด็กอายุ 5 ปี ที่เป็นวิทยาศาสตร์

เด็กอายุ 5 ปี  เด็กจะเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวดีขึ้น รู้จักแยกประเภทและแยกชิ้นส่วนของวัตถุ เข้าใจความหมายของจำนวนเลข เริ่มมีพัฒนาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์ แต่ไม่แจ่มชัดนัก สามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้โดยไม่คิดเตรียมล่วงหน้าไว้ก่อน รู้จักนำความรู้ในสิ่งหนึ่งไปอธิบายหรือแก้ปัญหาอื่นและสามารถนำเหตุผลทั่วๆ ไปมาสรุปแก้ปัญหา โดยไม่วิเคราะห์อย่างถี่ถ้วนเสียก่อนการคิดหาเหตุผลของเด็กยังขึ้นอยู่กับสิ่งที่ตนรับรู้ หรือสัมผัสจากภายนอก

วันเสาร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2555

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ.2555


-อาจารย์ให้นักศึกษาเขียนความคาดหวังในรายวิชานี้
การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
(1) การจัดประสบการณ์ > เทคนิค> หลักการจัดประสบการณ์
> ทฤษฎี > กระบวนการจัด > สื่อ/จัดสภาพแวดล้อมสนับสนุน
ในการจัดประสบการณ์ > การประเมินผล
(2) วิทยาศาสตร์ > สาระทางวิทยาศสสตร์ > ทักษะทางวิทยาศาสตร์
(3) เด็กปฐมวัย > พัฒนาการ > วิธีการเรียนรู้

ทักษะทางวิทยาศาสตร์

- ทักษะทางการสังเกต
- ทักษะทางจำแนกประเภท
- ทักษะการวัด
- ทักษะการหาความสัมพันธ์เกี่ยวกับสเปส
- ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
- ทักษะการจักกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
- ทักษะการพยากรณ์
- ทักษะการคำนวณ

สาระทางวิทยาศาสตร์

- ตัวฉัน
- ธรรมชาติ
- บุคคล
- สถานที่

-พัฒนาการ คือ การเปลี่ยนแปลงหรือพัฒนาเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง

- การพัฒนาเกิดขึ้นได้ คือ การเรียนรู้

งาน

-อาจารย์ให้ไปดูพัฒนาการทางสติปัญญา(ตัวไหนที่่วิทยาศาสตร์เด็กอายุ 5 ปี)แล้วโพลต์ขึ้นบล็อก
-อาจารย์ให้จับกลุ่มกัน 3 - 4 คน ให้ช่วยกันคิด 1 เรื่องและแตกเนื้อหาออกมา

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1

วันอังคารที่ 12 มิถุนายน  พ.ศ. 2555

อาจารย์สั่งให้นักศึกษา

- ทำบล็อควิทยาศาสตร์

- ลิ้งค์มาตรฐานวิทยาศาสตร์ของ สสวท.
- ลิ้งค์รายชื่อเพื่อนในบล็อค
- ดูโทรทัศน์ครูเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ (เรื่องนึงซ้ำได้ไม่เกิน 3 คน)